กค 0811/10081 วันที่ : 2 กรกฎาคม 2541 เรื่อง : ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาห translation - กค 0811/10081 วันที่ : 2 กรกฎาคม 2541 เรื่อง : ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาห Thai how to say

กค 0811/10081 วันที่ : 2 กรกฎาคม 25

กค 0811/10081

วันที่
: 2 กรกฎาคม 2541

เรื่อง
: ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาหัก ณ ที่จ่าย กรณีการจ่ายค่านายหน้าให้แก่บุคคลธรรมดาและนิติบุคคล

ข้อกฎหมาย
: มาตรา 40(2), มาตรา 41, มาตรา 50(1), มาตรา 76 ทวิ, พระราชกฤษฎีกา (ฉบับที่ 18) พ.ศ. 2505

ข้อหารือ
: 1. กรณีที่บริษัทไทยจ่ายค่านายหน้าในการขายสินค้าให้แก่บุคคลธรรมดา หรือบริษัทซึ่งมีถิ่น
ที่อยู่ในประเทศมาเลเซีย สิงคโปร์ หรืออังกฤษ และมิได้ประกอบกิจการในประเทศไทย กรณีดังกล่าว
บริษัทไทยจะมีหน้าที่หักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่ายหรือไม่ อย่างไร
2. หากบุคคลธรรมดา หรือบริษัทซึ่งเป็นนายหน้าตาม 1. ประกอบกิจการในประเทศไทย
กรณีดังกล่าวบริษัทไทยมีหน้าที่หักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่ายหรือไม่ อย่างไร

แนววินิจฉัย
: เนื่องจากค่านายหน้าจากการขายสินค้า เข้าลักษณะเป็นกำไรจากธุรกิจ ดังนั้น กรณีตาม
ข้อเท็จจริงข้างต้น จึงพิจารณาได้ดังนี้
(1) กรณีบุคคลธรรมดาหรือบริษัทซึ่งเป็นนายหน้าดังกล่าว มิได้ประกอบกิจการโดยผ่าน
สถานประกอบการถาวรในประเทศไทย บุคคลธรรมดาหรือบริษัทซึ่งเป็นนายหน้านั้น จะได้รับยกเว้น
ภาษีเงินได้ในประเทศไทย ทั้งนี้ ตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง แห่งอนุสัญญาฯ ระหว่างประเทศไทยกับประเทศ
มาเลเซียหรือประเทศสิงคโปร์เพื่อการเว้นการเก็บภาษีซ้อน หรือตามข้อ 8 วรรคหนึ่ง แห่งอนุสัญญา
ระหว่างประเทศไทยกับสหราชอาณาจักรอังกฤษเพื่อการเว้นการเก็บภาษีซ้อน แล้วแต่กรณี และตาม
มาตรา 3 แห่งพระราชกฤษฎีกาฯ (ฉบับที่ 18) พ.ศ. 2505 ฉะนั้น เมื่อบริษัทไทยจ่ายค่านายหน้าให้กับ
บุคคลธรรมดาหรือบริษัทซึ่งเป็นนายหน้าดังกล่าว บริษัทไทยจึงไม่มีหน้าที่หักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่ายไว้แต่
อย่างใด
(2) กรณีบุคคลธรรมดาหรือบริษัทซึ่งเป็นนายหน้าดังกล่าว ประกอบกิจการโดยผ่าน
สถานประกอบการถาวรในประเทศไทย แยกพิจารณาได้ดังนี้
(ก) บุคคลธรรมดาดังกล่าว มีหน้าที่ต้องนำค่านายหน้าที่ได้รับมารวมคำนวณเพื่อเสีย
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาในประเทศไทย ตามมาตรา 41 วรรคหนึ่ง แห่งประมวลรัษฎากร และโดยที่
ค่านายหน้าดังกล่าวเป็นเงินได้ตามมาตรา 40 (2) แห่งประมวลรัษฎากร เมื่อบริษัทไทยจ่ายค่านายหน้า
ให้แก่บุคคลธรรมดาดังกล่าวบริษัทไทยมีหน้าที่หักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย ตามมาตรา 50 (1) แห่ง
ประมวลรัษฎากร
(ข) บริษัทดังกล่าว มีหน้าที่ต้องนำค่านายหน้ามารวมคำนวณกำไรสุทธิเพื่อเสีย
ภาษีเงินได้นิติบุคคลในประเทศไทย ตามมาตรา 76 ทวิ แห่งประมวลรัษฎากร และเมื่อบริษัทไทยจ่าย
ค่านายหน้าให้กับบริษัทดังกล่าว บริษัทไทยไม่มีหน้าที่ต้องหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย แต่อย่างใด

0/5000
From: -
To: -
Results (Thai) 1: [Copy]
Copied!
กค 0811/10081 วันที่ : 2 กรกฎาคม 2541 เรื่อง : ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาหักณที่จ่ายกรณีการจ่ายค่านายหน้าให้แก่บุคคลธรรมดาและนิติบุคคล ข้อกฎหมาย : มาตรา 40(2) มาตรา 41 มาตรา 50(1) มาตรา 76 ทวิ พ.ศพระราชกฤษฎีกา (ฉบับที่ 18) . 2505 ข้อหารือ : 1. กรณีที่บริษัทไทยจ่ายค่านายหน้าในการขายสินค้าให้แก่บุคคลธรรมดาหรือบริษัทซึ่งมีถิ่นที่อยู่ในประเทศมาเลเซียสิงคโปร์หรืออังกฤษและมิได้ประกอบกิจการในประเทศไทยกรณีดังกล่าวบริษัทไทยจะมีหน้าที่หักภาษีเงินได้ณที่จ่ายหรือไม่อย่างไร2. หากบุคคลธรรมดาหรือบริษัทซึ่งเป็นนายหน้าตาม 1 ประกอบกิจการในประเทศไทยกรณีดังกล่าวบริษัทไทยมีหน้าที่หักภาษีเงินได้ณที่จ่ายหรือไม่อย่างไร แนววินิจฉัย : เนื่องจากค่านายหน้าจากการขายสินค้าเข้าลักษณะเป็นกำไรจากธุรกิจดังนั้นกรณีตามข้อเท็จจริงข้างต้นจึงพิจารณาได้ดังนี้(1) กรณีบุคคลธรรมดาหรือบริษัทซึ่งเป็นนายหน้าดังกล่าวมิได้ประกอบกิจการโดยผ่านสถานประกอบการถาวรในประเทศไทยบุคคลธรรมดาหรือบริษัทซึ่งเป็นนายหน้านั้นจะได้รับยกเว้นภาษีเงินได้ในประเทศไทยทั้งนี้ตามข้อ 7 วรรคหนึ่งระหว่างประเทศไทยกับประเทศแห่งอนุสัญญาฯมาเลเซียหรือประเทศสิงคโปร์เพื่อการเว้นการเก็บภาษีซ้อนหรือตามข้อ 8 วรรคหนึ่งแห่งอนุสัญญาระหว่างประเทศไทยกับสหราชอาณาจักรอังกฤษเพื่อการเว้นการเก็บภาษีซ้อนแล้วแต่กรณีและตามมาตรา 3 แห่งพระราชกฤษฎีกาฯ (ฉบับที่ 18) พ.ศ. 2505 ฉะนั้นเมื่อบริษัทไทยจ่ายค่านายหน้าให้กับบุคคลธรรมดาหรือบริษัทซึ่งเป็นนายหน้าดังกล่าวบริษัทไทยจึงไม่มีหน้าที่หักภาษีเงินได้ณที่จ่ายไว้แต่อย่างใด(2) กรณีบุคคลธรรมดาหรือบริษัทซึ่งเป็นนายหน้าดังกล่าวประกอบกิจการโดยผ่านสถานประกอบการถาวรในประเทศไทยแยกพิจารณาได้ดังนี้(พบว่ามี) บุคคลธรรมดาดังกล่าวมีหน้าที่ต้องนำค่านายหน้าที่ได้รับมารวมคำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาในประเทศไทย ตามมาตรา 41 วรรคหนึ่ง แห่งประมวลรัษฎากร และโดยที่ค่านายหน้าดังกล่าวเป็นเงินได้ตามมาตรา 40 (2) แห่งประมวลรัษฎากร เมื่อบริษัทไทยจ่ายค่านายหน้าให้แก่บุคคลธรรมดาดังกล่าวบริษัทไทยมีหน้าที่หักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย ตามมาตรา 50 (1) แห่งประมวลรัษฎากร(ข) บริษัทดังกล่าว มีหน้าที่ต้องนำค่านายหน้ามารวมคำนวณกำไรสุทธิเพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลในประเทศไทย ตามมาตรา 76 ทวิ แห่งประมวลรัษฎากร และเมื่อบริษัทไทยจ่ายค่านายหน้าให้กับบริษัทดังกล่าว บริษัทไทยไม่มีหน้าที่ต้องหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย แต่อย่างใด
Being translated, please wait..
Results (Thai) 2:[Copy]
Copied!
กค 0811/10081 วันที่: 2 กรกฎาคม 2541 เรื่อง: ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาหัก ณ ที่จ่าย มาตรา 40 (2), มาตรา 41, มาตรา 50 (1), มาตรา 76 ทวิ, พระราชกฤษฎีกา (ฉบับที่ 18) พ.ศ. 2505 ข้อหารือ: 1 สิงคโปร์หรืออังกฤษและมิได้ประกอบกิจการในประเทศไทย ณ ที่จ่ายหรือไม่อย่างไร2 หากบุคคลธรรมดาหรือ บริษัท ซึ่งเป็นนายหน้าตาม 1 ณ ที่จ่ายหรือไม่อย่างไรแนววินิจฉัย: เข้าลักษณะเป็นกำไรจากธุรกิจดังนั้นกรณีตามข้อเท็จจริงข้างต้นจึงพิจารณาได้ดังนี้(1) ทั้งนี้ตามข้อ 7 วรรคหนึ่งแห่งอนุสัญญาฯ หรือตามข้อ 8 วรรคหนึ่ง แล้วแต่กรณีและตามมาตรา 3 แห่งพระราชกฤษฎีกาฯ (ฉบับที่ 18) พ.ศ. 2505 ฉะนั้น ณ ที่จ่ายไว้ แต่อย่างใด(2) แยกพิจารณาได้ดังนี้(ก) บุคคลธรรมดาดังกล่าว ตามมาตรา 41 วรรคหนึ่งแห่งประมวลรัษฎากร 40 (2) แห่งประมวลรัษฎากร ณ ที่จ่ายตามมาตรา 50 (1) แห่งประมวลรัษฎากร(ข) บริษัท ดังกล่าว ตามมาตรา 76 ทวิแห่งประมวลรัษฎากร ณ ที่จ่าย แต่อย่างใด







































Being translated, please wait..
Results (Thai) 3:[Copy]
Copied!
กค 0811 / 10081

วันที่
2 กรกฎาคม 2541

เรื่อง
: ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาหักณที่จ่ายกรณีการจ่ายค่านายหน้าให้แก่บุคคลธรรมดาและนิติบุคคล

ข้อกฎหมาย
: มาตรา 40 ( 2 ) , มาตรา 41 , มาตรา 50 ( 1 ) มาตรา 76 ทวิพระราชกฤษฎีกา ( 18 , ฉบับที่ ) พ . ศ .ข้อหารือ 2505


: 1 กรณีที่บริษัทไทยจ่ายค่านายหน้าในการขายสินค้าให้แก่บุคคลธรรมดาหรือบริษัทซึ่งมีถิ่นสิงคโปร์หรืออังกฤษและมิได้ประกอบกิจการในประเทศไทยกรณีดังกล่าว

ที่อยู่ในประเทศมาเลเซียบริษัทไทยจะมีหน้าที่หักภาษีเงินได้ณที่จ่ายหรือไม่อย่างไร
2 หากบุคคลธรรมดาหรือบริษัทซึ่งเป็นนายหน้าตาม 1 ประกอบกิจการในประเทศไทย
กรณีดังกล่าวบริษัทไทยมีหน้าที่หักภาษีเงินได้ณที่จ่ายหรือไม่อย่างไร

แนววินิจฉัย
: เนื่องจากค่านายหน้าจากการขายสินค้าเข้าลักษณะเป็นกำไรจากธุรกิจดังนั้นกรณีตามจึงพิจารณาได้ดังนี้

ข้อเท็จจริงข้างต้น( 1 ) กรณีบุคคลธรรมดาหรือบริษัทซึ่งเป็นนายหน้าดังกล่าวมิได้ประกอบกิจการโดยผ่านบุคคลธรรมดาหรือบริษัทซึ่งเป็นนายหน้านั้นจะได้รับยกเว้น

สถานประกอบการถาวรในประเทศไทยภาษีเงินได้ในประเทศไทยทั้งนี้ตามข้อ 7 วรรคหนึ่งแห่งอนุสัญญาฯระหว่างประเทศไทยกับประเทศมาเลเซียหรือประเทศสิงคโปร์เพื่อการเว้นการเก็บภาษีซ้อนหรือตามข้อวรรคหนึ่งแห่งอนุสัญญา

8ระหว่างประเทศไทยกับสหราชอาณาจักรอังกฤษเพื่อการเว้นการเก็บภาษีซ้อนแล้วแต่กรณีและตาม
มาตรา 3 แห่งพระราชกฤษฎีกาฯ ( 18 ฉบับที่ ) พ . ศ . 2505 ฉะนั้นเมื่อบริษัทไทยจ่ายค่านายหน้าให้กับ
บุคคลธรรมดาหรือบริษัทซึ่งเป็นนายหน้าดังกล่าวบริษัทไทยจึงไม่มีหน้าที่หักภาษีเงินได้ณที่จ่ายไว้แต่อย่างใด

( 2 ) กรณีบุคคลธรรมดาหรือบริษัทซึ่งเป็นนายหน้าดังกล่าวประกอบกิจการโดยผ่าน
สถานประกอบการถาวรในประเทศไทยแยกพิจารณาได้ดังนี้
( )
บุคคลธรรมดาดังกล่าวมีหน้าที่ต้องนำค่านายหน้าที่ได้รับมารวมคำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาในประเทศไทยตามมาตรา 41 วรรคหนึ่งแห่งประมวลรัษฎากรและโดยที่
ค่านายหน้าดังกล่าวเป็นเงินได้ตามมาตรา 40 ( 2 ) แห่งประมวลรัษฎากรเมื่อบริษัทไทยจ่ายค่านายหน้า
ให้แก่บุคคลธรรมดาดังกล่าวบริษัทไทยมีหน้าที่หักภาษีเงินได้ณที่จ่ายตามมาตรา 50 ( 1 ) ประมวลรัษฎากรแห่ง

( ข ) บริษัทดังกล่าวมีหน้าที่ต้องนำค่านายหน้ามารวมคำนวณกำไรสุทธิเพื่อเสีย
ภาษีเงินได้นิติบุคคลในประเทศไทยตามมาตรา 76 ทวิแห่งประมวลรัษฎากรและเมื่อบริษัทไทยจ่าย
ค่านายหน้าให้กับบริษัทดังกล่าวบริษัทไทยไม่มีหน้าที่ต้องหักภาษีเงินได้ณที่จ่ายแต่อย่างใด

Being translated, please wait..
 
Other languages
The translation tool support: Afrikaans, Albanian, Amharic, Arabic, Armenian, Azerbaijani, Basque, Belarusian, Bengali, Bosnian, Bulgarian, Catalan, Cebuano, Chichewa, Chinese, Chinese Traditional, Corsican, Croatian, Czech, Danish, Detect language, Dutch, English, Esperanto, Estonian, Filipino, Finnish, French, Frisian, Galician, Georgian, German, Greek, Gujarati, Haitian Creole, Hausa, Hawaiian, Hebrew, Hindi, Hmong, Hungarian, Icelandic, Igbo, Indonesian, Irish, Italian, Japanese, Javanese, Kannada, Kazakh, Khmer, Kinyarwanda, Klingon, Korean, Kurdish (Kurmanji), Kyrgyz, Lao, Latin, Latvian, Lithuanian, Luxembourgish, Macedonian, Malagasy, Malay, Malayalam, Maltese, Maori, Marathi, Mongolian, Myanmar (Burmese), Nepali, Norwegian, Odia (Oriya), Pashto, Persian, Polish, Portuguese, Punjabi, Romanian, Russian, Samoan, Scots Gaelic, Serbian, Sesotho, Shona, Sindhi, Sinhala, Slovak, Slovenian, Somali, Spanish, Sundanese, Swahili, Swedish, Tajik, Tamil, Tatar, Telugu, Thai, Turkish, Turkmen, Ukrainian, Urdu, Uyghur, Uzbek, Vietnamese, Welsh, Xhosa, Yiddish, Yoruba, Zulu, Language translation.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: