ดังนั้นหากองค์กรต้องการที่จะดึงดูดและรักษาพนักงานที่มีความรู้ความสามารถให้อยู่กับองค์กรไปนานๆ ก็จำเป็นที่นายจ้างจะต้องมีการจัดการให้บุคลากรมี WLB ที่ดี มิฉะนั้นแล้วบุคลากรอาจรู้สึกไม่เป็นสุขกับชีวิต และลาจากองค์กรเพื่อไปแสวงหาทางเลือกที่ดีกว่าให้กับชีวิตของตน แม้เรื่อง WLB จะเป็นที่สนใจกันอย่างกว้างขวางในปัจจุบัน แต่การตีความหมายคำว่า “ความสมดุล ระหว่างชีวิตกับการทำงาน” ก็มักแตกต่างกันไประหว่างบุคคลต่างๆ เนื่องเพราะแต่ละคนมีความต้องการและบทบาทที่แตกต่างกันไปตามแต่สภาพชีวิตของแต่ละคน
longer-term economic trends appear to be encouraging improved work-life balance, but the impact of the post-2008 crisis deserves further attention as several contradictory trends are evident on the basis of data so far available, as we discuss below. Moreover, working time (its volume and arrangement) is only one aspect of work-life balance. It seems more likely that a combination of various employment-related factors affect individuals' (self-perceived) ability to manage work and home life: work intensification, feelings of job security or insecurity, the extent to which flexible hours are "unsocial" or fit life outside paid work, the availability demands of new technologies, and (societal and/or organizational) cultures of long hours or presenteeism ([34] Roberts, 2007). In the UK, for example, data shows that reported levels of satisfaction with working hours were highest during the recessions of 1990 and 2009, suggesting that with higher levels of job insecurity, workers' priority is to maintain their job rather than to improve working conditions ([20] Leighton and Gregory, 2011). Nevertheless, economic downturn is likely to lead to rising job insecurity and work intensification ([11] European Foundation for the Improvement of Living and Working Conditions, 2010), a potential counter-trend to this (which would apply mainly to employees in high demand due to scarce skills) being businesses' willingness to trade other aspects of job security and quality for benefits such as support for family responsibilities ([19] Kossek et al. , 2010).
ความยืดหยุ่นและความสมดุลโปรแกรมชีวิตการทำงานประโยชน์สามารถก่อให้เกิดผลประโยชน์ต่อนายจ้างและลูกจ้าง แต่อย่างไรก็Juliet Bourke,she claimed that the use of flexibility has moved away from its original paradigm นั่นก็คือ การใช้ความยืดหยุ่นในการทำงานได้ก่อให้เกิดผลกระทบด้านลบต่อลูกจ้าง ในขณะที่นายจ้างเป็นฝ่ายที่ได้ประโยชน์จากการ
การบริหาร หากองค์กรต่างๆต้องการที่จะดึงดูดและรักษาทุนมนุษย์ที่มีความรู้ความสามารถให้อยู่กับองค์กรไปนานๆ ก็จำเป็นที่จะต้องจัดการให้บุคลากรมี WLB ที่ดี มิฉะนั้นแล้วบุคลากรอาจรู้สึกไม่เป็นสุขกับชีวิต และลาจากองค์กรเพื่อไปแสวงหาทางเลือกที่ดีกว่าให้กับชีวิตของตน
แม้เรื่อง WLB จะเป็นที่สนใจกันอย่างกว้างขวางในปัจจุบัน แต่การตีความหมายคำว่า “ความสมดุล ระหว่างชีวิตกับการทำงาน” ก็มักแตกต่างกันไประหว่างบุคคลต่างๆ เนื่องเพราะแต่ละคนมีความต้องการและบทบาทที่แตกต่างกันไปตามแต่สภาพชีวิตของแต่ละคน ข้อมูลจากการสำรวจความคิดเห็นของผู้คนใน สหราชอาณาจักรครั้งหนึ่ง แสดงให้เห็นว่า คนเข้าใจความหมายของ WLB แตกต่างกันไปอย่างหลากหลาย ตั้งแต่ การไม่ปะปนกันของชีวิตที่ทำงานกับชีวิตที่บ้าน คุณภาพชีวิตโดยทั่วไป ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน ตลอดไปจนถึงการปรับปรุงสภาวะแวดล้อมในการทำงาน
ใช้ความยืดหยุด อย่างไรก็ตามการทำงานที่ยืดหยุ่นอาจทำให้เกิดผลกระทบด้านลบต่อทั้งลูกจ้างทั้งสุขภาพกาย และสุขภาพจิต หากลูกจ้างมีการexcessive working hours ติดต่อกันมากเกินไป ซึ่งนอกจากจะเกิดผลเสียต่อperformance ของลูกจ้างแล้ว ยังก่อให้เิกผลเสียต่อองค์กรด้วย ซึ่งผู้จัดการจะต้องมีส่วนร่วมในการวางแผนและกระตุ้นให้พนักงานทำงานให้เสร็จทันเวลา เพื่อลดexcessive working hours ความยืดหยุ่นในการทำงานช่วยให้นายจ้างสามารถลดต้นทุนของธุรกิจได้โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ โดยนายจ้างมีการปรับใช้ความยืดหยุ่นในองค์กร ด้วยการปรับลดจำนวนชั่วการทำงานของพนักงาน การลดจำนวนพนักงาน ซึ่งนายจ้างแต่ละคนจะมีการปรับใช้ความยืดหยุ่นในการทำงานที่แตกต่างกันออกไปเช่นAustraliaความยืดหยุ่นการใช้งานเวอร์จิน Australia'm โดยการหยุดพนักงาน และลดจำนวนพนักงานเพื่อลดค่าใช้จ่ายในขณะที่มีความยืดหยุ่นในการใช้งาน บริษัท เคพีเอ็โดยการลดจำนวนชั่วโมงการทำงานโดย