เมืองแพร่เป็นเมืองโบราณ อายุประมาณ 1,000 ปี เริ่มก่อตั้งขึ้นเป็นเมืองป translation - เมืองแพร่เป็นเมืองโบราณ อายุประมาณ 1,000 ปี เริ่มก่อตั้งขึ้นเป็นเมืองป Thai how to say

เมืองแพร่เป็นเมืองโบราณ อายุประมาณ

เมืองแพร่เป็นเมืองโบราณ อายุประมาณ 1,000 ปี เริ่มก่อตั้งขึ้นเป็นเมืองประมาณพุทธศตวรรษที่ 12 หลังจากการก่อตั้งเมืองเชียงใหม่และสุโขทัย ซึ่งตามศิลาจารึกของพ่อขุนรามคำแหงมหาราช จารึกเอาไว้ว่าเมืองแพร่เคยเป็นเมืองหนึ่งของอาณาจักรสุโขทัย มีชื่อว่า “เมืองแพล” ต่อมาสมัยขอมเรืองอำนาจได้เปลี่ยนชื่อเมืองแพลเป็น “เวียงโกศัย” ซึ่งแปลว่า ผ้าแพร และต่อมาเปลี่ยนเป็นเมืองแพร่ แต่ไม่ปรากฏหลักฐานว่าเปลี่ยนตั้งแต่สมัยใดซึ่งชาวล้านนา นิยมออกเสียงเป็น “เมืองแป้”
ชื่อ “เวียงโกศัย” น่าจะมาจากชื่อดอยที่เป็นที่ตั้งขององค์พระธาตุช่อแฮ ซึ่งเป็นพระธาตุศักดิ์สิทธิ์ คู่บ้านคู่เมืองแพร่ คือ ดอยโกสิยธชัคบรรพต หมายถึง ดอยแห่งผ้าแพร เมืองแพล เป็นชื่อที่ปรากฎ ในศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหงมหาราชหลักที่ 1 ด้านที่ 4 โดยคำว่า แพล น่าจะมาจากศรัทธาของ ชาวเมืองที่มีต่อพระธาตุช่อแพร หรือช่อแฮที่สร้างขึ้น ภายหลังการสร้างเมืองต่อมาจึงได้เรียกชื่อ เมืองของตนว่า เมืองแพล และได้กลายเสียงเป็นเมืองแพร่ปัจจุบัน
จากตำนานเมืองเหนือเมืองแพร่มีชื่อเดิมว่า “พลนคร” หรือ “เมืองพล” และเปลี่ยนชื่อเป็นเมืองแพล และในสมัยขอมเรืองอำนาจราว พ.ศ.470 – 1560 พระนางจามเทวีได้แผ่อำนาจเข้าครอบครองดินแดนในเขตล้านนา ได้เปลี่ยนชื่อเมืองแพลเป็น “โกศัยนคร” หรือ “นครโกศัย” หรือ “เวียงโกศัย” ซึ่งแปลว่า ผ้าแพร นับตั้งแต่นั้นมาได้มีผู้ครอบครองสืบเนื่องกันต่อมาหลายสมัย
ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 5 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ได้เปลี่ยนมาปกครองจากเจ้าผู้ครองนครเป็นเทศาภิบาลในปี พ.ศ.2440 และได้โปรดเกล้าให้พระยาไชยบูรณ์ (ทองอยู่ สุวรรณบาตร) ไปเป็นข้าหลวงกำกับการปกครองเมืองแพร่เป็นคนแรก ต่อมาในปี พ.ศ.2445 พวกเงี้ยวที่อาศัยอยู่ในเมืองแพร่ได้ก่อความวุ่นวายขึ้น โดยได้บุกยึดสถานที่ราชการที่สำคัญ เช่น ศาลากลางจังหวัดและไปรษณีย์ เป็นต้น และได้ปล้นเงินคลังของจังหวัด ตลอดจนปล้นนักโทษออกจากเรือนจำ ซึ่งพระยาไชยบูรณ์ได้ทำการต่อสู้ปกป้องจากพวกเงี้ยวอย่างเต็มความสามารถ แต่ก็ถูกพวกเงี้ยวจับตัวได้และบังคับให้ลงนามยกเมืองให้ ซึ่งพระยาไชยบูรณ์ไม่ยอม พวกเงี้ยวจึงได้นำตัวไปตัดศีรษะที่บ้านร่องกาศ ความทราบถึงพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 จึงได้โปรดเกล้าฯ ให้พระยาสุรศักดิ์มนตรี (เจิม แสงชูโต) นำทัพหลวงและกองทัพจากเมืองใกล้เคียงทำการปราบปรามพวกเงี้ยวได้อย่างราบคาบ



0/5000
From: -
To: -
Results (Thai) 1: [Copy]
Copied!
เมืองแพร่เป็นเมืองโบราณอายุประมาณ 1000 ปีเริ่มก่อตั้งขึ้นเป็นเมืองประมาณพุทธศตวรรษที่ 12 หลังจากการก่อตั้งเมืองเชียงใหม่และสุโขทัยซึ่งตามศิลาจารึกของพ่อขุนรามคำแหงมหาราชจารึกเอาไว้ว่าเมืองแพร่เคยเป็นเมืองหนึ่งของอาณาจักรสุโขทัยมีชื่อว่า "เมืองแพล" ต่อมาสมัยขอมเรืองอำนาจได้เปลี่ยนชื่อเมืองแพลเป็น "เวียงโกศัย" ซึ่งแปลว่าผ้าแพรและต่อมาเปลี่ยนเป็นเมืองแพร่แต่ไม่ปรากฏหลักฐานว่าเปลี่ยนตั้งแต่สมัยใดซึ่งชาวล้านนานิยมออกเสียงเป็น "เมืองแป้" ชื่อ "เวียงโกศัย" น่าจะมาจากชื่อดอยที่เป็นที่ตั้งขององค์พระธาตุช่อแฮซึ่งเป็นพระธาตุศักดิ์สิทธิ์คู่บ้านคู่เมืองแพร่คือดอยโกสิยธชัคบรรพตหมายถึงดอยแห่งผ้าแพรเมืองแพลเป็นชื่อที่ปรากฎในศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหงมหาราชหลักที่ 1 ด้านที่ 4 โดยคำว่าแพลน่าจะมาจากศรัทธาของชาวเมืองที่มีต่อพระธาตุช่อแพรหรือช่อแฮที่สร้างขึ้นภายหลังการสร้างเมืองต่อมาจึงได้เรียกชื่อเมืองของตนว่าเมืองแพลและได้กลายเสียงเป็นเมืองแพร่ปัจจุบันจากตำนานเมืองเหนือเมืองแพร่มีชื่อเดิมว่า "พลนคร" หรือ "เมืองพล" และเปลี่ยนชื่อเป็นเมืองแพลและในสมัยขอมเรืองอำนาจราว พ.ศ.470 – 1560 พระนางจามเทวีได้แผ่อำนาจเข้าครอบครองดินแดนในเขตล้านนาได้เปลี่ยนชื่อเมืองแพลเป็น "โกศัยนคร" หรือ "นครโกศัย" หรือ "เวียงโกศัย" ซึ่งแปลว่าผ้าแพรนับตั้งแต่นั้นมาได้มีผู้ครอบครองสืบเนื่องกันต่อมาหลายสมัยในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 5 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ได้เปลี่ยนมาปกครองจากเจ้าผู้ครองนครเป็นเทศาภิบาลในปี พ.ศ.2440 และได้โปรดเกล้าให้พระยาไชยบูรณ์ (ทองอยู่ สุวรรณบาตร) ไปเป็นข้าหลวงกำกับการปกครองเมืองแพร่เป็นคนแรก ต่อมาในปี พ.ศ.2445 พวกเงี้ยวที่อาศัยอยู่ในเมืองแพร่ได้ก่อความวุ่นวายขึ้น โดยได้บุกยึดสถานที่ราชการที่สำคัญ เช่น ศาลากลางจังหวัดและไปรษณีย์ เป็นต้น และได้ปล้นเงินคลังของจังหวัด ตลอดจนปล้นนักโทษออกจากเรือนจำ ซึ่งพระยาไชยบูรณ์ได้ทำการต่อสู้ปกป้องจากพวกเงี้ยวอย่างเต็มความสามารถ แต่ก็ถูกพวกเงี้ยวจับตัวได้และบังคับให้ลงนามยกเมืองให้ ซึ่งพระยาไชยบูรณ์ไม่ยอม พวกเงี้ยวจึงได้นำตัวไปตัดศีรษะที่บ้านร่องกาศ ความทราบถึงพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 จึงได้โปรดเกล้าฯ ให้พระยาสุรศักดิ์มนตรี (เจิม แสงชูโต) นำทัพหลวงและกองทัพจากเมืองใกล้เคียงทำการปราบปรามพวกเงี้ยวได้อย่างราบคาบ
Being translated, please wait..
Results (Thai) 2:[Copy]
Copied!
เมืองแพร่เป็นเมืองโบราณอายุประมาณ 1,000 ปี 12 มีชื่อว่า "เมืองแพล" "เวียงโกศัย" ซึ่งแปลว่าผ้าแพรและต่อมาเปลี่ยนเป็นเมืองแพร่ นิยมออกเสียงเป็น "เมืองแป้"
ชื่อ "เวียงโกศัย" ซึ่งเป็นพระธาตุศักดิ์สิทธิ์คู่บ้านคู่เมืองแพร่คือดอยโกสิย ธ ชัคบรรพตหมายถึงดอยแห่งผ้าแพรเมืองแพลเป็นชื่อที่ปรากฎ 1 ด้านที่ 4 โดยคำว่าแพลน่าจะมาจากศรัทธาของชาวเมืองที่มีต่อพระธาตุช่อแพรหรือช่อแฮที่สร้างขึ้น เมืองของตนว่าเมืองแพล
"พลนคร" หรือ "เมืองพล" และเปลี่ยนชื่อเป็นเมืองแพลและในสมัยขอมเรืองอำนาจราว พ.ศ. 470 - 1560 ได้เปลี่ยนชื่อเมืองแพลเป็น "โกศัยนคร" หรือ "นครโกศัย" หรือ "เวียงโกศัย" ซึ่งแปลว่าผ้าแพร
5 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ พ.ศ. 2440 และได้โปรดเกล้าให้พระยาไชยบูรณ์ (ทองอยู่สุวรรณบาตร) ต่อมาในปี พ.ศ. 2445 โดยได้บุกยึดสถานที่ราชการที่สำคัญเช่นศาลากลางจังหวัดและไปรษณีย์เป็นต้นและได้ปล้นเงินคลังของจังหวัดตลอดจนปล้นนักโทษออกจากเรือนจำ ซึ่งพระยาไชยบูรณ์ไม่ยอม รัชกาลที่ 5 จึงได้โปรดเกล้าฯให้พระยาสุรศักดิ์มนตรี (เจิมแสงชูโต)



Being translated, please wait..
Results (Thai) 3:[Copy]
Copied!
เมืองแพร่เป็นเมืองโบราณอายุประมาณ 1000 . เริ่มก่อตั้งขึ้นเป็นเมืองประมาณพุทธศตวรรษที่ 12 หลังจากการก่อตั้งเมืองเชียงใหม่และสุโขทัยซึ่งตามศิลาจารึกของพ่อขุนรามคำแหงมหาราชจารึกเอาไว้ว่าเมืองแพร่เคยเป็นเมืองหนึ่งของอาณาจักรสุโขทัยมีชื่อว่าต่อมาสมัยขอมเรืองอำนาจได้เปลี่ยนชื่อเมืองแพลเป็น " เวียงโกศัย " ซึ่งแปลว่าผ้าแพรและต่อมาเปลี่ยนเป็นเมืองแพร่แต่ไม่ปรากฏหลักฐานว่าเปลี่ยนตั้งแต่สมัยใดซึ่งชาวล้านนานิยมออกเสียงเป็น " เมืองแป้ "
ชื่อ " เวียงโกศัย " น่าจะมาจากชื่อดอยที่เป็นที่ตั้งขององค์พระธาตุช่อแฮซึ่งเป็นพระธาตุศักดิ์สิทธิ์คู่บ้านคู่เมืองแพร่ความดอยโกสิยธชัคบรรพตหมายถึงดอยแห่งผ้าแพรเมืองแพลเป็นชื่อที่ปรากฎ1 ด้านที่ 4 โดยคำว่าแพลน่าจะมาจากศรัทธาของชาวเมืองที่มีต่อพระธาตุช่อแพรหรือช่อแฮที่สร้างขึ้นภายหลังการสร้างเมืองต่อมาจึงได้เรียกชื่อเมืองของตนว่าเมืองแพลและได้กลายเสียงเป็นเมืองแพร่ปัจจุบัน
จากตำนานเมืองเหนือเมืองแพร่มีชื่อเดิมว่า " พลนคร " ค็อค " เมืองพล " และเปลี่ยนชื่อเป็นเมืองแพลและในสมัยขอมเรืองอำนาจราวพ . ศ .470 - 1560 พระนางจามเทวีได้แผ่อำนาจเข้าครอบครองดินแดนในเขตล้านนาได้เปลี่ยนชื่อเมืองแพลเป็น " โกศัยนคร " ค็อค " นครโกศัย " ค็อค " เวียงโกศัย " ซึ่งแปลว่าผ้าแพรในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 5 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ได้เปลี่ยนมาปกครองจากเจ้าผู้ครองนครเป็นเทศาภิบาลในปีพ . ศ .1708 และได้โปรดเกล้าให้พระยาไชยบูรณ์ ( ทองอยู่สุวรรณบาตร ) ไปเป็นข้าหลวงกำกับการปกครองเมืองแพร่เป็นคนแรกต่อมาในปีพ . ศ .2445 พวกเงี้ยวที่อาศัยอยู่ในเมืองแพร่ได้ก่อความวุ่นวายขึ้นโดยได้บุกยึดสถานที่ราชการที่สำคัญเช่นศาลากลางจังหวัดและไปรษณีย์เป็นต้นและได้ปล้นเงินคลังของจังหวัดตลอดจนปล้นนักโทษออกจากเรือนจำแต่ก็ถูกพวกเงี้ยวจับตัวได้และบังคับให้ลงนามยกเมืองให้ซึ่งพระยาไชยบูรณ์ไม่ยอมพวกเงี้ยวจึงได้นำตัวไปตัดศีรษะที่บ้านร่องกาศความทราบถึงพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 5 จึงได้โปรดเกล้าฯ( เจิมแสงชูโต ) นำทัพหลวงและกองทัพจากเมืองใกล้เคียงทำการปราบปรามพวกเงี้ยวได้อย่างราบคาบ



Being translated, please wait..
 
Other languages
The translation tool support: Afrikaans, Albanian, Amharic, Arabic, Armenian, Azerbaijani, Basque, Belarusian, Bengali, Bosnian, Bulgarian, Catalan, Cebuano, Chichewa, Chinese, Chinese Traditional, Corsican, Croatian, Czech, Danish, Detect language, Dutch, English, Esperanto, Estonian, Filipino, Finnish, French, Frisian, Galician, Georgian, German, Greek, Gujarati, Haitian Creole, Hausa, Hawaiian, Hebrew, Hindi, Hmong, Hungarian, Icelandic, Igbo, Indonesian, Irish, Italian, Japanese, Javanese, Kannada, Kazakh, Khmer, Kinyarwanda, Klingon, Korean, Kurdish (Kurmanji), Kyrgyz, Lao, Latin, Latvian, Lithuanian, Luxembourgish, Macedonian, Malagasy, Malay, Malayalam, Maltese, Maori, Marathi, Mongolian, Myanmar (Burmese), Nepali, Norwegian, Odia (Oriya), Pashto, Persian, Polish, Portuguese, Punjabi, Romanian, Russian, Samoan, Scots Gaelic, Serbian, Sesotho, Shona, Sindhi, Sinhala, Slovak, Slovenian, Somali, Spanish, Sundanese, Swahili, Swedish, Tajik, Tamil, Tatar, Telugu, Thai, Turkish, Turkmen, Ukrainian, Urdu, Uyghur, Uzbek, Vietnamese, Welsh, Xhosa, Yiddish, Yoruba, Zulu, Language translation.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: